link slot Pragmatic Play resmi dan terpercaya 2024

Spaceman Slot

permainan spaceman slot Resmi di Indonesia

เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก

Handbook 29 การปิดฝาผิวสำคัญอย่างไร ?

01/02/2022

แชร์บทความนี้

เคยไหมครับ บำรุงสกินแคร์ไปหลายขั้นตอนแล้ว แต่ทำไมพอตื่นเช้ามาผิวยังแห้งอยู่ ? อาจเป็นเพราะไม่ได้ปิดฝาผิวหรือเปล่า ? The Skincare Handbook ตอนที่ 29 นี้ ผมจะมาเล่าเกี่ยวกับการปิดฝาผิวหรือ Moisture Shielding ว่ามันคืออะไร แล้วการปิดฝาผิวนั้นสำคัญอย่างไร ทำไมเราจะต้องปิดฝาผิวด้วย

การปิดฝาผิวคืออะไร ? การปิดฝาผิวเป็นการบำรุงผิวในขั้นตอนสุดท้าย เป็นการให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนังชนิดหนึ่ง โดยการสร้างชั้นของไขมันปกคลุมผิวด้านบน เพื่อให้ผิวเสียน้ำได้ยากขึ้น (Occlusive Effect) (รายละเอียดเรื่อง Occlusive อ่านต่อได้ในบทความเรื่อง “Moisture ได้ยินบ่อย ๆ เข้าใจความหมายจริง ๆ หรือยัง ?” หรือคลิก  https://bit.ly/3h3tv1f ได้เลยครับ) ตัวอย่างของสารที่ใช้ในการปิดฝาผิวที่หลายท่านน่าจะรู้จักและคุ้นเคยกันดี เช่น Beeswax, Petrolutum Jelly เป็นต้นครับ

แล้วการปิดฝาผิวสำคัญอย่างไร ? ผมอยากให้ทุกท่านลองนึกภาพตามนะครับ สมมติว่าเราเอาเจลาตินไปแช่น้ำจนพอง ตัดแบ่งไปส่วนนึง วางทิ้งไว้ในห้องอุณหภูมิปกติ อีกส่วนนึงเก็บไว้ในถุงซิปล็อคแล้วซีลปากถุงให้สนิท ทิ้งไว้ 1 คืน ตื่นเช้ามา คิดว่าเจลาตินทั้ง 2 ส่วนนี้จะเป็นยังไงบ้างครับ ?

แน่นอนครับ แผ่นที่วางทิ้งไว้ข้างนอก ก็จะแห้งและแข็ง เพราะน้ำที่ให้ไปตอนแรกระเหยออกไปหมด ส่วนแผ่นที่อยู่ในถุงซิปล็อกจะยังคงชุ่มน้ำอยู่เหมือนเดิม นั่นก็เป็นเพราะน้ำที่อยู่ในเจลาตินนั้นไม่สามารถระเหยออกไปไหนได้นั่นเอง

ผิวคนเราก็เหมือนกันครับ แต่ต่างกันตรงที่เราคงไม่สามารถเอาถุงมาคลุมผิวไว้เพื่อไม่ให้น้ำระเหยออกไปได้ใช่มั้ยล่ะครับ สิ่งที่เราทำได้ก็คือ ใช้สกินแคร์ที่มีคุณสมบัติ “ปิดฝาผิว” เป็นขั้นตอนสุดท้าย หลังจากบำรุงผิวด้วยน้ำและไขมันเข้าไปเต็มที่แล้ว เพียงเท่านี้ ก็สามารถกักเก็บน้ำไว้ในผิว ทำให้ผิวชุ่มชื้นได้นานขึ้นครับ

ส่วนผสมที่ใช้ปิดฝาผิวในสกินแคร์มีอะไรบ้าง ? จริง ๆ แล้วมีอยู่หลายตัวเลยครับ ซึ่งแต่ละตัวก็มีข้อดีข้อเสีย และคุณสมบัติที่
แตกต่างกันออกไป โดยสามารถแบ่งได้ 4 กลุ่มคือ


  1. แข็งและเกาะติดผิวแย่ (แต่แข็งในทีนี้ไม่ใช่แข็งแบบอิฐแบบปูนนะครับ) สารในกลุ่มนี้มีข้อดีคือ สามารถสร้างชั้นปิดฝาผิวหนา ๆ ได้ หมายความว่าจะสามารถกักเก็บความชุ่มชื้นได้ดีมาก ๆ นั่นเอง แต่ข้อเสียก็คือเนื้อสัมผัสมักจะไม่ค่อยดี แข็งและเปราะง่าย ความยืดหยุ่นต่ำ เหมือนกับขนมเค้กหน้าแห้ง ๆ ที่ครีมด้านบนเป็นรอยแตก ๆ เพราะไม่ยืดหยุ่นไปตามเนื้อขนมปัง การเกาะติดผิวไม่ดี เหมือนเวลาน้ำตาเทียนหยดใส่มือเรา พอเอามือหยิบก็จะแตก และหลุดออกจากผิวได้อย่างง่ายดาย ตัวอย่างสารในกลุ่มนี้ เช่น Paraffin wax ครับ
  2. แข็งแต่เกาะติดผิวดี สารในกลุ่มนี้จะเนื้อแข็ง สามารถสร้างชั้นปิดฝาผิวหนา ๆ ได้ แต่เกาะติดผิวได้ดี เมื่อถูหรือสัมผัสกับอย่างอื่นก็ไม่หลุดออกไปง่าย แต่เนื่องจากฝาผิวที่ได้จากสารกลุ่มนี้มีความแข็งมาก สัมผัสหลังใช้ ผิวจะมีความกระด้าง
    ไม่สบายผิว เราจะรู้สึกเหมือนมีแผ่นแข็ง ๆ อะไรซักอย่างมาหุ้มผิวเราอยู่ ตัวอย่างสารในกลุ่มนี้ เช่น Candelilla Wax, Beeswax ครับ
  3. ยืดหยุ่นแต่เกาะติดผิวแย่ สารในกลุ่มนี้จะมีข้อดีคือมีความยืดหยุ่นสูง เพราะมีลักษณะเป็นของกึ่งแข็งกึ่งเหลว (Semi-solid) แต่ข้อเสียก็คือค่อนข้างเหนียวเหนอะหนะ เกาะติดผิวแย่ เช่น Petroleum Jelly ครับ
  4. ยืดหยุ่นและเกาะผิวดี สารในกลุ่มนี้มีความยืดหยุ่น เพราะเป็นของกึ่งแข็งกึ่งเหลว (Semi-solid) เหมือนกัน การเกาะติดผิวดี บางตัวเหนียวเหนอะหนะ บางตัวไม่เหนียวเหนอะหนะ เช่น Shea Butter, Cocoa Butter, Mango Seed Butter ครับ ซึ่งกลุ่มนี้ เราเรียกรวม ๆ ได้ว่า Plant Butter ครับ


โดยการปิดฝาผิวที่ดีนั้น จะต้องมีความยืดหยุ่นที่ดีและเกาะติดผิวได้ดี สารในกลุ่ม Plant Butter จึงเป็น ตัวเลือกที่ดีในการนำมาใช้เพื่อปิดฝาผิวครับ

หลายท่านก็อาจจะมีคำถามต่อว่า แล้ว Plant Butter ที่ว่านี้คืออะไรล่ะ ? Plant Butter ก็คือไขมันแข็งที่มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว (Semi-solid) ที่ได้จากส่วนเมล็ดของพืชเป็นหลัก ตัวอย่างเช่น Mango Seed Butter นั้น ก็ได้มาจากส่วนที่เป็นเนื้อของเมล็ดที่มีชื่อเรียกว่า Kernel ซึ่งอยู่ในเปลือกหุ้มเมล็ด (Endocarp) ซึ่ง Plant Butter ประกอบด้วยไขมันที่มีประโยชน์ต่อผิวมากมายเลยครับ

ถึงแม้ว่า สารที่ทำหน้าที่ปิดฝาผิวในกลุ่ม Plant Butter นั้น จะมีความยืดหยุ่นที่ดี สามารถเกาะติดผิวได้ดี แต่ Plant Butter แต่ละชนิด ก็ยังมีคุณสมบัติและข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้ครับ

  1. Shea Butter เป็น Butter ที่มีจุดหลอมเหลวต่ำ เนื่องจากมีอัตราส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวเยอะ โดยมีสัดส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวต่อไขมันอิ่มตัวอยู่ที่ 1.13 มีจุดหลอมเหลวอยู่ที่ประมาณ 30-32 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิของผิวหนังของเราพอดี ดังนั้นเวลาที่เราทา Shea Butter ลงไปบนผิวหนัง มันก็จะ Melt อยู่บนผิวทันทีเลยครับ ซึ่งมีข้อดีก็คือ เนื้อเหลว สามารถทาเกลี่ยได้ง่าย แต่จะมีความเหนียวเหนอะหนะ เพราะว่ามันหลอมเหลวและไม่เซตตัวบนผิวเท่าไหร่ครับ อีกทั้งด้วยความที่มีไขมันไม่อิ่มตัวเยอะ ก็จะมีข้อเสียคือ กลิ่นเหม็นหืนง่าย และสีก็จะเปลี่ยนง่ายด้วยครับ
  2. Cocoa Butter เป็น Butter ที่สามารถกักเก็บความชุ่มชื้นไว้ได้ดีมาก แต่เนื่องจากมีอัตราส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวต่อไขมันอิ่มตัวอยู่ที่ 0.6 เท่านั้น จึงทำให้เนื้อหนัก มีความ Rich มาก อาจไม่เหมาะกับสภาพอากาศบ้านเรา แต่ก็มักนิยมนำมาใช้ในผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความชุ่มชื้นมากเป็นพิเศษ เช่น ครีมทาหน้าท้องสำหรับหญิงตั้งครรภ์ หรือครีมที่ใช้ในประเทศที่มีอากาศเย็นและแห้งมาก ๆ เป็นต้นครับ
  3. Mango Seed Butter เป็น Butter ที่มีค่าอัตราส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวต่อไขมันอิ่มตัวอยู่ที่ 0.9 ซึ่งเป็นสัดส่วนที่พอเหมาะเพราะไม่ได้มีไขมันอิ่มตัวมากจนเกินไป มีจุดหลอมเหลวอยู่ที่ราว 37 องศาเซลเซียส ทำให้มีคุณสมบัติพิเศษคือ เมื่อถูเกลี่ยและเกิดความร้อนขึ้น Mango Seed Butter นี้ก็จะ Melt ไปที่ผิว ทำให้สามารถเกลี่ยได้ง่าย แต่พอหยุดถูแล้ว ก็จะเซตตัวติดอยู่ที่ผิวหนังได้ดี ทำให้ไม่เหนียวเหนอะหนะ แต่ยังมีข้อเสียก็คือ มีสัดส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวที่ยังเยอะอยู่ ทำให้กลิ่นเหม็นหืนง่าย และสีเปลี่ยนง่ายเช่นเดียวกับครับ

แล้วจะทำยังไงให้ได้ Mango Seed Butter ที่เหม็นหืนยาก คงตัวดี ? ปัญหาเรื่องการเหม็นหืนและสีที่เปลี่ยนง่ายเนื่องจากมีสัดส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวที่ค่อนข้างเยอะของ Mango Seed Butter นั้น สามารถแก้ได้โดยการนำไปเข้ากระบวนการ Refine เพื่อทำให้ Butter มีคุณภาพดีขึ้น แต่แค่ดีอย่างเดียวยังไม่พอครับ ต้องดีมากไปกว่านั้นอีกด้วยกระบวนการที่เรียกว่า Super Refine ครับ โดยเริ่มจากนำเมล็ดมาทำการสกัด เพื่อให้ได้ Mango Seed Butter ออกมาก่อน ซึ่งจะได้เป็น Butter ที่คุณภาพต่ำ เหม็นหืนง่าย จากนั้นทำการกำจัดสีและกลิ่น เติมวิตามิน E ป้องกันการหืน จนได้ออกมาเป็น Super Refined Mango Seed Butter ที่มีสีและกลิ่นดีขึ้น ไม่เหม็นหืนง่าย และมีความคงตัวมากขึ้น พร้อมนำไปใช้ใน AMT Skincare แล้วครับ  !!

สุดท้ายนี้ ผมขออนุญาตแนะนำผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ล่าสุดจาก AMT Skincare “AMT Anti-aging & Intensive Moisturizing Night Cream” สกินแคร์ที่ทำหน้าที่ปิดฝาผิว ใช้เป็น Step 4 ในตอนกลางคืน กักเก็บน้ำและไขมันที่ให้ไปในขั้นตอนก่อนหน้า
ล็อคความชุ่มชื้นไว้ในผิวให้อยู่ได้นานตลอดคืนโดยไม่เหนียวเหนอะหนะ ผมเลือกใช้อัตราส่วน Inner oil : Surface Oil = 35 : 65 ประกอบด้วย Mango Seed Butter ที่มีความยืดหยุ่นดี เกาะติดผิวดี ผมเลือกใช้วัตถุดิบเกรด Super Refined ที่มีความบริสุทธิ์สูง ไม่เหม็นหืนง่าย และด้วยคุณสมบัติเฉพาะตัวของ Mango Seed Butter ที่มีอัตราส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวและไขมันอิ่มตัวพอเหมาะ ทำให้เกลี่ยถูบนผิวได้ง่าย แต่เมื่อทาเกลี่ยเสร็จแล้วจะเซตตัวได้ดี ผลิตภัณฑ์ใหม่นี้กำลังจะเปิด Pre-order ในวันที่ 17-23 พฤษภาคมนี้แล้ว ขอบอกว่ามีโปรโมชั่นสุดพิเศษมาก ๆ แน่นอน
ผมขอฝากทุกท่านติดตามกันด้วยนะครับ

Tag : ปัญหาผิวแห้ง

#AMTSkincare #AMAfamily #AMTHandbook #YourSkinGuardian #Skincare #สกินแคร์

ติดตามและเป็นกำลังใจให้พวกเราได้ที่

https://linktr.ee/AMTSkincare

เคยไหมครับ บำรุงสกินแคร์ไปหลายขั้นตอนแล้ว แต่ทำไมพอตื่นเช้ามาผิวยังแห้งอยู่ ? อาจเป็นเพราะไม่ได้ปิดฝาผิวหรือเปล่า ? The Skincare Handbook ตอนที่ 29 นี้ ผมจะมาเล่าเกี่ยวกับการปิดฝาผิวหรือ Moisture Shielding ว่ามันคืออะไร แล้วการปิดฝาผิวนั้นสำคัญอย่างไร ทำไมเราจะต้องปิดฝาผิวด้วย

การปิดฝาผิวคืออะไร ? การปิดฝาผิวเป็นการบำรุงผิวในขั้นตอนสุดท้าย เป็นการให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนังชนิดหนึ่ง โดยการสร้างชั้นของไขมันปกคลุมผิวด้านบน เพื่อให้ผิวเสียน้ำได้ยากขึ้น (Occlusive Effect) (รายละเอียดเรื่อง Occlusive อ่านต่อได้ในบทความเรื่อง “Moisture ได้ยินบ่อย ๆ เข้าใจความหมายจริง ๆ หรือยัง ?” หรือคลิก  https://bit.ly/3h3tv1f ได้เลยครับ) ตัวอย่างของสารที่ใช้ในการปิดฝาผิวที่หลายท่านน่าจะรู้จักและคุ้นเคยกันดี เช่น Beeswax, Petrolutum Jelly เป็นต้นครับ

แล้วการปิดฝาผิวสำคัญอย่างไร ? ผมอยากให้ทุกท่านลองนึกภาพตามนะครับ สมมติว่าเราเอาเจลาตินไปแช่น้ำจนพอง ตัดแบ่งไปส่วนนึง วางทิ้งไว้ในห้องอุณหภูมิปกติ อีกส่วนนึงเก็บไว้ในถุงซิปล็อคแล้วซีลปากถุงให้สนิท ทิ้งไว้ 1 คืน ตื่นเช้ามา คิดว่าเจลาตินทั้ง 2 ส่วนนี้จะเป็นยังไงบ้างครับ ?

แน่นอนครับ แผ่นที่วางทิ้งไว้ข้างนอก ก็จะแห้งและแข็ง เพราะน้ำที่ให้ไปตอนแรกระเหยออกไปหมด ส่วนแผ่นที่อยู่ในถุงซิปล็อกจะยังคงชุ่มน้ำอยู่เหมือนเดิม นั่นก็เป็นเพราะน้ำที่อยู่ในเจลาตินนั้นไม่สามารถระเหยออกไปไหนได้นั่นเอง

ผิวคนเราก็เหมือนกันครับ แต่ต่างกันตรงที่เราคงไม่สามารถเอาถุงมาคลุมผิวไว้เพื่อไม่ให้น้ำระเหยออกไปได้ใช่มั้ยล่ะครับ สิ่งที่เราทำได้ก็คือ ใช้สกินแคร์ที่มีคุณสมบัติ “ปิดฝาผิว” เป็นขั้นตอนสุดท้าย หลังจากบำรุงผิวด้วยน้ำและไขมันเข้าไปเต็มที่แล้ว เพียงเท่านี้ ก็สามารถกักเก็บน้ำไว้ในผิว ทำให้ผิวชุ่มชื้นได้นานขึ้นครับ

ส่วนผสมที่ใช้ปิดฝาผิวในสกินแคร์มีอะไรบ้าง ? จริง ๆ แล้วมีอยู่หลายตัวเลยครับ ซึ่งแต่ละตัวก็มีข้อดีข้อเสีย และคุณสมบัติที่
แตกต่างกันออกไป โดยสามารถแบ่งได้ 4 กลุ่มคือ

  1. แข็งและเกาะติดผิวแย่ (แต่แข็งในทีนี้ไม่ใช่แข็งแบบอิฐแบบปูนนะครับ) สารในกลุ่มนี้มีข้อดีคือ สามารถสร้างชั้นปิดฝาผิวหนา ๆ ได้ หมายความว่าจะสามารถกักเก็บความชุ่มชื้นได้ดีมาก ๆ นั่นเอง แต่ข้อเสียก็คือเนื้อสัมผัสมักจะไม่ค่อยดี แข็งและเปราะง่าย ความยืดหยุ่นต่ำ เหมือนกับขนมเค้กหน้าแห้ง ๆ ที่ครีมด้านบนเป็นรอยแตก ๆ เพราะไม่ยืดหยุ่นไปตามเนื้อขนมปัง การเกาะติดผิวไม่ดี เหมือนเวลาน้ำตาเทียนหยดใส่มือเรา พอเอามือหยิบก็จะแตก และหลุดออกจากผิวได้อย่างง่ายดาย ตัวอย่างสารในกลุ่มนี้ เช่น Paraffin wax ครับ
  2. แข็งแต่เกาะติดผิวดี สารในกลุ่มนี้จะเนื้อแข็ง สามารถสร้างชั้นปิดฝาผิวหนา ๆ ได้ แต่เกาะติดผิวได้ดี เมื่อถูหรือสัมผัสกับอย่างอื่นก็ไม่หลุดออกไปง่าย แต่เนื่องจากฝาผิวที่ได้จากสารกลุ่มนี้มีความแข็งมาก สัมผัสหลังใช้ ผิวจะมีความกระด้าง
    ไม่สบายผิว เราจะรู้สึกเหมือนมีแผ่นแข็งๆอะไรซักอย่างมาหุ้มผิวเราอยู่ ตัวอย่างสารในกลุ่มนี้ เช่น Candelilla Wax, Beeswax ครับ
  3. ยืดหยุ่นแต่เกาะติดผิวแย่ สารในกลุ่มนี้จะมีข้อดีคือมีความยืดหยุ่นสูง เพราะมีลักษณะเป็นของกึ่งแข็งกึ่งเหลว (Semi-solid) แต่ข้อเสียก็คือค่อนข้างเหนียวเหนอะหนะ เกาะติดผิวแย่ เช่น Petroleum Jelly ครับ
  4. ยืดหยุ่นและเกาะผิวดี สารในกลุ่มนี้มีความยืดหยุ่น เพราะเป็นของกึ่งแข็งกึ่งเหลว (Semi-solid) เหมือนกัน การเกาะติดผิวดี บางตัวเหนียวเหนอะหนะ บางตัวไม่เหนียวเหนอะหนะ เช่น Shea Butter, Cocoa Butter, Mango Seed Butter ครับ ซึ่งกลุ่มนี้ เราเรียกรวม ๆ ได้ว่า Plant Butter ครับ

โดยการปิดฝาผิวที่ดีนั้น จะต้องมีความยืดหยุ่นที่ดีและเกาะติดผิวได้ดี สารในกลุ่ม Plant Butter จึงเป็น ตัวเลือกที่ดีในการนำมาใช้เพื่อปิดฝาผิวครับ

หลายท่านก็อาจจะมีคำถามต่อว่า แล้ว Plant Butter ที่ว่านี้คืออะไรล่ะ ? Plant Butter ก็คือไขมันแข็งที่มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว (Semi-solid) ที่ได้จากส่วนเมล็ดของพืชเป็นหลัก ตัวอย่างเช่น Mango Seed Butter นั้น ก็ได้มาจากส่วนที่เป็นเนื้อของเมล็ดที่มีชื่อเรียกว่า Kernel ซึ่งอยู่ในเปลือกหุ้มเมล็ด (Endocarp) ซึ่ง Plant Butter ประกอบด้วยไขมันที่มีประโยชน์ต่อผิวมากมายเลยครับ

ถึงแม้ว่า สารที่ทำหน้าที่ปิดฝาผิวในกลุ่ม Plant Butter นั้น จะมีความยืดหยุ่นที่ดี สามารถเกาะติดผิวได้ดี แต่ Plant Butter แต่ละชนิด ก็ยังมีคุณสมบัติและข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้ครับ

  1. Shea Butter เป็น Butter ที่มีจุดหลอมเหลวต่ำ เนื่องจากมีอัตราส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวเยอะ โดยมีสัดส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวต่อไขมันอิ่มตัวอยู่ที่ 1.13 มีจุดหลอมเหลวอยู่ที่ประมาณ 30-32 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิของผิวหนังของเราพอดี ดังนั้นเวลาที่เราทา Shea Butter ลงไปบนผิวหนัง มันก็จะ Melt อยู่บนผิวทันทีเลยครับ ซึ่งมีข้อดีก็คือ เนื้อเหลว สามารถทาเกลี่ยได้ง่าย แต่จะมีความเหนียวเหนอะหนะ เพราะว่ามันหลอมเหลวและไม่เซตตัวบนผิวเท่าไหร่ครับ อีกทั้งด้วยความที่มีไขมันไม่อิ่มตัวเยอะ ก็จะมีข้อเสียคือ กลิ่นเหม็นหืนง่าย และสีก็จะเปลี่ยนง่ายด้วยครับ
  2. Cocoa Butter เป็น Butter ที่สามารถกักเก็บความชุ่มชื้นไว้ได้ดีมาก แต่เนื่องจากมีอัตราส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวต่อไขมันอิ่มตัวอยู่ที่ 0.6 เท่านั้น จึงทำให้เนื้อหนัก มีความ Rich มาก อาจไม่เหมาะกับสภาพอากาศบ้านเรา แต่ก็มักนิยมนำมาใช้ในผลิตภัณฑ์ที่ต้องการความชุ่มชื้นมากเป็นพิเศษ เช่น ครีมทาหน้าท้องสำหรับหญิงตั้งครรภ์ หรือครีมที่ใช้ในประเทศที่มีอากาศเย็นและแห้งมาก ๆ เป็นต้นครับ
  3. Mango Seed Butter เป็น Butter ที่มีค่าอัตราส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวต่อไขมันอิ่มตัวอยู่ที่ 0.9 ซึ่งเป็นสัดส่วนที่พอเหมาะเพราะไม่ได้มีไขมันอิ่มตัวมากจนเกินไป มีจุดหลอมเหลวอยู่ที่ราว 37 องศาเซลเซียส ทำให้มีคุณสมบัติพิเศษคือ เมื่อถูเกลี่ยและเกิดความร้อนขึ้น Mango Seed Butter นี้ก็จะ Melt ไปที่ผิว ทำให้สามารถเกลี่ยได้ง่าย แต่พอหยุดถูแล้ว ก็จะเซตตัวติดอยู่ที่ผิวหนังได้ดี ทำให้ไม่เหนียวเหนอะหนะ แต่ยังมีข้อเสียก็คือ มีสัดส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวที่ยังเยอะอยู่ ทำให้กลิ่นเหม็นหืนง่าย และสีเปลี่ยนง่ายเช่นเดียวกับครับ

แล้วจะทำยังไงให้ได้ Mango Seed Butter ที่เหม็นหืนยาก คงตัวดี ? ปัญหาเรื่องการเหม็นหืนและสีที่เปลี่ยนง่ายเนื่องจากมีสัดส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวที่ค่อนข้างเยอะของ Mango Seed Butter นั้น สามารถแก้ได้โดยการนำไปเข้ากระบวนการ Refine เพื่อทำให้ Butter มีคุณภาพดีขึ้น แต่แค่ดีอย่างเดียวยังไม่พอครับ ต้องดีมากไปกว่านั้นอีกด้วยกระบวนการที่เรียกว่า Super Refine ครับ โดยเริ่มจากนำเมล็ดมาทำการสกัด เพื่อให้ได้ Mango Seed Butter ออกมาก่อน ซึ่งจะได้เป็น Butter ที่คุณภาพต่ำ เหม็นหืนง่าย จากนั้นทำการกำจัดสีและกลิ่น เติมวิตามิน E ป้องกันการหืน จนได้ออกมาเป็น Super Refined Mango Seed Butter ที่มีสีและกลิ่นดีขึ้น ไม่เหม็นหืนง่าย และมีความคงตัวมากขึ้น พร้อมนำไปใช้ใน AMT Skincare แล้วครับ  !!

สุดท้ายนี้ ผมขออนุญาตแนะนำผลิตภัณฑ์ตัวใหม่ล่าสุดจาก AMT Skincare “AMT Anti-aging & Intensive Moisturizing Night Cream” สกินแคร์ที่ทำหน้าที่ปิดฝาผิว ใช้เป็น Step 4 ในตอนกลางคืน กักเก็บน้ำและไขมันที่ให้ไปในขั้นตอนก่อนหน้า
ล็อคความชุ่มชื้นไว้ในผิวให้อยู่ได้นานตลอดคืนโดยไม่เหนียวเหนอะหนะ ผมเลือกใช้อัตราส่วน Inner oil : Surface Oil = 35 : 65 ประกอบด้วย Mango Seed Butter ที่มีความยืดหยุ่นดี เกาะติดผิวดี ผมเลือกใช้วัตถุดิบเกรด Super Refined ที่มีความบริสุทธิ์สูง ไม่เหม็นหืนง่าย และด้วยคุณสมบัติเฉพาะตัวของ Mango Seed Butter ที่มีอัตราส่วนของไขมันไม่อิ่มตัวและไขมันอิ่มตัวพอเหมาะ ทำให้เกลี่ยถูบนผิวได้ง่าย แต่เมื่อทาเกลี่ยเสร็จแล้วจะเซตตัวได้ดี ผลิตภัณฑ์ใหม่นี้กำลังจะเปิด Pre-order ในวันที่ 17-23 พฤษภาคมนี้แล้ว ขอบอกว่ามีโปรโมชั่นสุดพิเศษมาก ๆ แน่นอน
ผมขอฝากทุกท่านติดตามกันด้วยนะครับ

Tag : ปัญหาผิวแห้ง

#AMTSkincare #AMAfamily #AMTHandbook #YourSkinGuardian #Skincare #สกินแคร์

ติดตามและเป็นกำลังใจให้พวกเราได้ที่

https://linktr.ee/AMTSkincare

บทความอื่นๆ

ion casino

ion casino

sbotop

slot bet 100

joker123 gaming

slot deposit pulsa tanpa potongan

slot deposit pulsa tanpa potongan

bonus new member

slot filipina

slot myanmar

slot vietnam

slot garansi kekalahan 100

judi bola

slot myanmar

depo 25 bonus 25 to kecil

slot vietnam

depo 25 bonus 25

demo slot sugar rush

akun pro myanmar

slot bet kecil

bonus new member

bonus new member

joker123

demo lucky neko

slot joker123

slot garansi kekalahan

https://robertoduarte.com.br/wp-includes/Slot777/

https://billig-is.dk/wp-content/slot777/

https://www.firshop.com/wp-includes/slot777/

https://simone.co.uk/wp-content/slot777/

joker123

Situs Slot777

situs slot server kamboja

Slot Gacor 777

sbobet

situs slot server thailand

Slot Gacor 777

https://pabloscobar.com/wp-includes/slot777/

https://www.aprendetrompeta.com/wp-admin/slot777/

https://www.carehealth.uk/wp-includes/slot777/

https://justforbaby.co/slot777/

ion slot gacor

judi bola online

slot777

slot777

slot bet 100

slot bet 100

https://creativelifestyleblog.com/