link slot Pragmatic Play resmi dan terpercaya 2024

Spaceman Slot

permainan spaceman slot Resmi di Indonesia

เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก

Handbook 7 ผิวของคุณต้องการน้ำมันแบบไหน (ตอนจบ)

24/03/2022

แชร์บทความนี้

The Skincare Handbook by AMT Skincare

คอนเทนต์ให้ความรู้เกี่ยวกับผิว และวิทยาศาตร์ที่เกี่ยวกับสกินแคร์

ตอนที่ 7 ผิวของคุณต้องการน้ำมันแบบไหน? (บทความครึ่งหลัง : ถ้าคุณรู้จักผิวของคุณดีแล้ว มาดูกันเลยว่าน้ำมันแบบไหนที่ผิวของคุณอยากได้ )

น้ำมันที่อยู่ในสกินแคร์แต่ละประเภทนั้น มีปริมาณไม่เท่ากันครับ ซึ่งโดยทั่วๆไปในตลาดสกินแคร์นั้น
– น้ำตบหรือessence – จะมีปริมาณน้ำมัน 0-2%
– เซรั่ม – จะมีปริมาณน้ำมัน 0-10%
– อิมัลชันแบบเนื้อเจล – จะมีปริมาณน้ำมัน 5-20%
– อิมัลชันแบบเนื้อครีม – จะมีปริมาณน้ำมัน 10-30%
– น้ำมันเพียวๆ – แน่นอนครับมีน้ำมันได้ถึง 90-100%

แต่เอาจริงๆแล้วนะครับ ปริมาณน้ำมันโดยรวมตรงนี้สำคัญก็จริง แต่ไม่ได้สำคัญที่สุด เพราะอะไรนั่นเหรอครับ?

สมมติคุณอยากให้น้ำมันกับผิวเยอะหน่อย แต่ตอนนี้คุณไม่มีครีมติดบ้าน คุณก็ทาอิมัลชันเนื้อเจลลงไปทับกัน2ชั้น หรือ เดิมเคยกดมา2ปั๊มพ์ ก็กดออกมาซัก 4 ปั๊มพ์ คุณก็จะได้ปริมาณน้ำมันโดยรวมเท่ากับทาครีมครั้งเดียวแล้วครับ

สิ่งที่ผมคิดว่าสำคัญกว่าปริมาณน้ำมันในสูตร ก็คือ

“อัตราส่วนของน้ำมันแต่ละชนิด” ในนั้นมากกว่าครับ

ซึ่งชนิดของน้ำมันในสกินแคร์ แบ่งได้หลายวิธี แต่ผมชอบแบ่งตาม 2 วิธีดังต่อไปนี้ครับ

วิธีที่1 แบ่งตามความหนืด (Viscosity)

1. ความหนืดต่ำ (ตั้งชื่อเล่นว่า V1ละกันครับ) – น้ำมันประเภทนี้เวลาทาลงไปบนผิว จะกระจายเป็นวงกว้างครอบคลุมผิวได้ดี หรืออาจจะเรียกว่า “เบา” “ซึมดี” หรือ “เกลี่ยง่าย” ก็ได้ครับ
2. ความหนืดปานกลาง (V2) – เวลาทาน้ำมันประเภทนี้แล้วเกลี่ยด้วยมือ เราจะรู้สึกได้ถึงชั้นของน้ำมันระหว่างมือกับผิว เป็น layer บางๆ มักจะสื่อถึงความรู้สึกจำพวก “ริช” หรือ “เข้มข้น”
3. ความหนืดสูง (V3) – น้ำมันพวกนี้จะเป็นของกึ่งแข็งกึ่งเหลว ซึ่งแน่นอนครับ จะให้ความรู้สึก “เหนอะ หนัก” แต่ถ้ามองในมุมกลับกันแล้ว จะสื่อถึงคำว่า “ปกป้องผิว” “long lasting”

อีกการแบ่งน้ำมันอีกวิธีนึงหรือวิธีที่ 2 คือแบ่งตามความสามารถในการซึมผ่านชั้นผิวครับ

1. ซึมผ่านไม่ดี (P1)- น้ำมันประเภทนี้มักถูกเลือกใช้ในการนวดผิว เนื่องจากพอน้ำมันไม่ซึมเข้าผิว playtime หรือระยะเวลาที่เราจะใช้มือลูบเกลี่ยน้ำมันบนผิวได้จะนานขึ้น เหมาะกับการนวด รวมถึง เมคอัพคลีนซิ่งครีม นั่นเองครับ
2. ซึมผ่านได้ดี (P2) – น้ำมันประเภทนี้เป็นน้ำมันก็จริง แต่สามารถผสมเป็นเนื้อเดียวกับน้ำได้นิดหน่อย ทำให้แทรกซึมเข้าสู่ผิวชั้นลึกขึ้นได้ดีกว่า แต่กลับกันคือ playtime บนผิวจะสั้นลง

ดังนั้นมาถึงตรงนี้ ถ้าเรารวมการแบ่งน้ำมันตามวิธีทั้งสองวิธีที่กล่าวมาข้างต้น เราจะแบ่งน้ำมันออกได้ย่อยถึง 6 แบบ นั่นก็คือ
1. หนืดต่ำ + ซึมไม่ดี V1P1
2. หนืดต่ำ + ซึมดี V1P2
3. หนืดปานกลาง + ซึมไม่ดี V2P1
4. หนืดปานกลาง + ซึมดี V2P2
5. หนืดสูง + ซึมไม่ดี V3P1
6. หนืดสูง + ซึมดี V3P2

และถ้าเราจัดเรียงว่าทั้ง 6 แบบนั้นเวลาทาลงไปบนผิว ใครจะอยู่ค้างที่ผิวบน ใครจะซึมลงไปสู่ผิวล่าง เราจะเรียงลำดับได้ดังนี้ครับ
1. V3P1 หนืดสูง+ซึมไม่ดี (ซึมไม่ได้ที่สุด ทาไปตรงไหนก็อยู่ตรงนั้น)
2. V3P2 หนืดสูง+ซึมดี
3. V2P1 หนืดปานกลาง + ซึมไม่ดี
4. V1P1 หนืดต่ำ + ซึมไม่ดี
5. V2P2 หนืดปานกลาง +ซึมดี
6. V1P2 หนืดต่ำ + ซึมดี (ซึมทะลุทะลวง ทาปุ๊บมลายหายซึมเข้าไปในผิวเลย)

แล้วทีนี้ผิวแต่ละแบบ อยากได้น้ำมันแบบไหนบ้าง?
จากบทความตอนที่แล้ว ถ้าเราแบ่งสภาพผิวตามความลึกเป็นนอกและใน แบ่งตามบริเวณเป็น T และ U ตามอุดมคติแล้วเราสามารถเลือกน้ำมันในสกินแคร์ได้ตามนี้ครับ

ยกตัวอย่าง สภาพผิวผมเองละกันนะครับ

บริเวณ T ภายในแห้ง ภายนอกมัน
บริเวณ U แห้งทั้งภายในและภายนอก

ตรง T ผมก็จะให้น้ำมันที่ซึมดีหน่อย อาจจะเป็น V2P2 หรือ V1P2 ส่วนพวก V3P1 กับ V3P2 ก็จะแทบไม่ใช้เลยครับ เพื่อหวังให้น้ำมันซึมลงไปช่วยผิวภายในที่แห้ง และไม่ไปเพิ่มความมันให้ผิวภายนอก

ส่วนตรง U ผมก็จะให้น้ำมันทุกๆแบบในอัตราส่วนเท่าๆกัน เพื่อหวังให้ผิวในทุกๆชั้นได้น้ำมันในสัดส่วนที่เท่าๆกัน

แบบนี้เป็นต้นครับ แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่ต้องถึงขนาดนั้นก็ได้ครับ เดี๋ยวเครียดเกินไป

ผมขอแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆก็พอครับ นั่นก็คือ Surface Oil กับ Inner Oil

Surface Oil ได้แก่
1. V3P1 หนืดสูง+ซึมไม่ดี (ซึมไม่ได้ที่สุด ทาไปตรงไหนก็อยู่ตรงนั้น)
2. V3P2 หนืดสูง+ซึมดี
3. V2P1 หนืดปานกลาง + ซึมไม่ดี
4. V1P1 หนืดต่ำ + ซึมไม่ดี

และ Inner Oil ได้แก่
5. V2P2 หนืดปานกลาง +ซึมดี
6. V1P2 หนืดต่ำ + ซึมดี (ซึมทะลุทะลวง ทาปุ๊บมลายหายซึมเข้าไปในผิวเลย)

ตัวอย่างน้ำมันกลุ่ม Surface Oil ยกตัวอย่างเช่น Mineral Oil, Dimethicone, Petrolatum jelly, Polyisobutene, Pulybutene, C13-14 isoparaffin, Phytosteryl esters, Lanolin, Pentaerythritol esters และอื่นๆอีกมากมายครับ

ส่วนตัวอย่างน้ำมันกลุ่ม Inner Oil มีเยอะมากครับ ยกตัวอย่างเช่น น้ำมันพืชทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันมะกอก น้ำมันเมล็ดแมคคาเดเมีย น้ำมันเมล็ดดอกทานตะวัน น้ำมันอโวกาโด ยิ่งเป็นน้ำมันพืชที่มีสัดส่วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูงๆยิ่งซึมดีครับ ที่ใช้กันเยอะๆ ก็เช่น น้ำมันเมล็ดแมคคาเดเมีย และน้ำมันมะกอก เป็นต้นครับ นอกจากนี้ยังมีน้ำมันสังเคราะห์จำพวก triglycerides ต่างๆ เช่น Triethylhexanoin, Caprylic/capric triglyceride เป็นต้นครับ

แต่ทุกๆคนไม่ต้องเครียดจนเกินไปครับ

ถ้าคุณรู้ว่าผิวคุณเป็นแบบไหน ที่เหลือก็ปล่อยให้ AMT เป็นเพียงผู้ปรุงสูตรสกินแคร์ขึ้นมาและเราจะบอกคุณเองว่าสกินแคร์ของเรามี inner oil : surface oil ในอัตราส่วนเท่าไหร่ เช่นสูตรนี้นะมี surface oil : inner oil = 1:5 นะ อีกสูตรนึงเป็น 3:2 นะอะไรประมาณนึ้ครับ แล้วทีนี้คุณก็จะเลือกใช้ได้อย่างง่ายดายครับ

ถ้าเปรียบเทียบกับต้นไม้ สมมติเหมือนกับว่าคุณรู้ว่าต้นไม้ของคุณขาดไนโตรเจน คุณก็ไปหาปุ๋ยที่มีค่า N-P-K = 30-0-0 มาใส่ ไม่ใช่ไปเอาปุ๋ย 0-15-15 มาใส่เพราะมันไม่ตรงกับที่ต้นไม้ต้องการนั่นเองครับ

สุดท้ายนี้ผมขอสรุปสั้นๆว่า
1. เราต้องรู้จักผิวตัวเองก่อน
2. น้ำมันเป็นสิ่งที่ผิวทุกชนิดต้องการ
3. อัตราส่วน inner oil : surface oil ในสกินแคร์ สำคัญมาก เราควรจะเลือกให้เข้ากับผิวของเรา

Tag : ปัญหาผิวแห้ง ปัญหาผิวมัน

#AMTSkincare #AMTfamily #Skincare #สกินแคร์

ติดตามและเป็นกำลังใจให้กับพวกเราได้ที่

https://linktr.ee/AMTSkincare

The Skincare Handbook by AMT Skincare

คอนเทนต์ให้ความรู้เกี่ยวกับผิว และวิทยาศาตร์ที่เกี่ยวกับสกินแคร์

ตอนที่ 7 ผิวของคุณต้องการน้ำมันแบบไหน? (บทความครึ่งหลัง : ถ้าคุณรู้จักผิวของคุณดีแล้ว มาดูกันเลยว่าน้ำมันแบบไหนที่ผิวของคุณอยากได้ )

น้ำมันที่อยู่ในสกินแคร์แต่ละประเภทนั้น มีปริมาณไม่เท่ากันครับ ซึ่งโดยทั่วๆไปในตลาดสกินแคร์นั้น
– น้ำตบหรือessence – จะมีปริมาณน้ำมัน 0-2%
– เซรั่ม – จะมีปริมาณน้ำมัน 0-10%
– อิมัลชันแบบเนื้อเจล – จะมีปริมาณน้ำมัน 5-20%
– อิมัลชันแบบเนื้อครีม – จะมีปริมาณน้ำมัน 10-30%
– น้ำมันเพียวๆ – แน่นอนครับมีน้ำมันได้ถึง 90-100%

แต่เอาจริงๆแล้วนะครับ ปริมาณน้ำมันโดยรวมตรงนี้สำคัญก็จริง แต่ไม่ได้สำคัญที่สุด เพราะอะไรนั่นเหรอครับ?

สมมติคุณอยากให้น้ำมันกับผิวเยอะหน่อย แต่ตอนนี้คุณไม่มีครีมติดบ้าน คุณก็ทาอิมัลชันเนื้อเจลลงไปทับกัน2ชั้น หรือ เดิมเคยกดมา2ปั๊มพ์ ก็กดออกมาซัก 4 ปั๊มพ์ คุณก็จะได้ปริมาณน้ำมันโดยรวมเท่ากับทาครีมครั้งเดียวแล้วครับ

สิ่งที่ผมคิดว่าสำคัญกว่าปริมาณน้ำมันในสูตร ก็คือ

“อัตราส่วนของน้ำมันแต่ละชนิด” ในนั้นมากกว่าครับ

ซึ่งชนิดของน้ำมันในสกินแคร์ แบ่งได้หลายวิธี แต่ผมชอบแบ่งตาม 2 วิธีดังต่อไปนี้ครับ

วิธีที่1 แบ่งตามความหนืด (Viscosity)

1. ความหนืดต่ำ (ตั้งชื่อเล่นว่า V1ละกันครับ) – น้ำมันประเภทนี้เวลาทาลงไปบนผิว จะกระจายเป็นวงกว้างครอบคลุมผิวได้ดี หรืออาจจะเรียกว่า “เบา” “ซึมดี” หรือ “เกลี่ยง่าย” ก็ได้ครับ
2. ความหนืดปานกลาง (V2) – เวลาทาน้ำมันประเภทนี้แล้วเกลี่ยด้วยมือ เราจะรู้สึกได้ถึงชั้นของน้ำมันระหว่างมือกับผิว เป็น layer บางๆ มักจะสื่อถึงความรู้สึกจำพวก “ริช” หรือ “เข้มข้น”
3. ความหนืดสูง (V3) – น้ำมันพวกนี้จะเป็นของกึ่งแข็งกึ่งเหลว ซึ่งแน่นอนครับ จะให้ความรู้สึก “เหนอะ หนัก” แต่ถ้ามองในมุมกลับกันแล้ว จะสื่อถึงคำว่า “ปกป้องผิว” “long lasting”

อีกการแบ่งน้ำมันอีกวิธีนึงหรือวิธีที่ 2 คือแบ่งตามความสามารถในการซึมผ่านชั้นผิวครับ

1. ซึมผ่านไม่ดี (P1)- น้ำมันประเภทนี้มักถูกเลือกใช้ในการนวดผิว เนื่องจากพอน้ำมันไม่ซึมเข้าผิว playtime หรือระยะเวลาที่เราจะใช้มือลูบเกลี่ยน้ำมันบนผิวได้จะนานขึ้น เหมาะกับการนวด รวมถึง เมคอัพคลีนซิ่งครีม นั่นเองครับ
2. ซึมผ่านได้ดี (P2) – น้ำมันประเภทนี้เป็นน้ำมันก็จริง แต่สามารถผสมเป็นเนื้อเดียวกับน้ำได้นิดหน่อย ทำให้แทรกซึมเข้าสู่ผิวชั้นลึกขึ้นได้ดีกว่า แต่กลับกันคือ playtime บนผิวจะสั้นลง

ดังนั้นมาถึงตรงนี้ ถ้าเรารวมการแบ่งน้ำมันตามวิธีทั้งสองวิธีที่กล่าวมาข้างต้น เราจะแบ่งน้ำมันออกได้ย่อยถึง 6 แบบ นั่นก็คือ
1. หนืดต่ำ + ซึมไม่ดี V1P1
2. หนืดต่ำ + ซึมดี V1P2
3. หนืดปานกลาง + ซึมไม่ดี V2P1
4. หนืดปานกลาง + ซึมดี V2P2
5. หนืดสูง + ซึมไม่ดี V3P1
6. หนืดสูง + ซึมดี V3P2

และถ้าเราจัดเรียงว่าทั้ง 6 แบบนั้นเวลาทาลงไปบนผิว ใครจะอยู่ค้างที่ผิวบน ใครจะซึมลงไปสู่ผิวล่าง เราจะเรียงลำดับได้ดังนี้ครับ
1. V3P1 หนืดสูง+ซึมไม่ดี (ซึมไม่ได้ที่สุด ทาไปตรงไหนก็อยู่ตรงนั้น)
2. V3P2 หนืดสูง+ซึมดี
3. V2P1 หนืดปานกลาง + ซึมไม่ดี
4. V1P1 หนืดต่ำ + ซึมไม่ดี
5. V2P2 หนืดปานกลาง +ซึมดี
6. V1P2 หนืดต่ำ + ซึมดี (ซึมทะลุทะลวง ทาปุ๊บมลายหายซึมเข้าไปในผิวเลย)

แล้วทีนี้ผิวแต่ละแบบ อยากได้น้ำมันแบบไหนบ้าง?
จากบทความตอนที่แล้ว ถ้าเราแบ่งสภาพผิวตามความลึกเป็นนอกและใน แบ่งตามบริเวณเป็น T และ U ตามอุดมคติแล้วเราสามารถเลือกน้ำมันในสกินแคร์ได้ตามนี้ครับ

ยกตัวอย่าง สภาพผิวผมเองละกันนะครับ

บริเวณ T ภายในแห้ง ภายนอกมัน
บริเวณ U แห้งทั้งภายในและภายนอก

ตรง T ผมก็จะให้น้ำมันที่ซึมดีหน่อย อาจจะเป็น V2P2 หรือ V1P2 ส่วนพวก V3P1 กับ V3P2 ก็จะแทบไม่ใช้เลยครับ เพื่อหวังให้น้ำมันซึมลงไปช่วยผิวภายในที่แห้ง และไม่ไปเพิ่มความมันให้ผิวภายนอก

ส่วนตรง U ผมก็จะให้น้ำมันทุกๆแบบในอัตราส่วนเท่าๆกัน เพื่อหวังให้ผิวในทุกๆชั้นได้น้ำมันในสัดส่วนที่เท่าๆกัน

แบบนี้เป็นต้นครับ แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่ต้องถึงขนาดนั้นก็ได้ครับ เดี๋ยวเครียดเกินไป

ผมขอแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆก็พอครับ นั่นก็คือ Surface Oil กับ Inner Oil

Surface Oil ได้แก่
1. V3P1 หนืดสูง+ซึมไม่ดี (ซึมไม่ได้ที่สุด ทาไปตรงไหนก็อยู่ตรงนั้น)
2. V3P2 หนืดสูง+ซึมดี
3. V2P1 หนืดปานกลาง + ซึมไม่ดี
4. V1P1 หนืดต่ำ + ซึมไม่ดี

และ Inner Oil ได้แก่
5. V2P2 หนืดปานกลาง +ซึมดี
6. V1P2 หนืดต่ำ + ซึมดี (ซึมทะลุทะลวง ทาปุ๊บมลายหายซึมเข้าไปในผิวเลย)

ตัวอย่างน้ำมันกลุ่ม Surface Oil ยกตัวอย่างเช่น Mineral Oil, Dimethicone, Petrolatum jelly, Polyisobutene, Pulybutene, C13-14 isoparaffin, Phytosteryl esters, Lanolin, Pentaerythritol esters และอื่นๆอีกมากมายครับ

ส่วนตัวอย่างน้ำมันกลุ่ม Inner Oil มีเยอะมากครับ ยกตัวอย่างเช่น น้ำมันพืชทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันมะกอก น้ำมันเมล็ดแมคคาเดเมีย น้ำมันเมล็ดดอกทานตะวัน น้ำมันอโวกาโด ยิ่งเป็นน้ำมันพืชที่มีสัดส่วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูงๆยิ่งซึมดีครับ ที่ใช้กันเยอะๆ ก็เช่น น้ำมันเมล็ดแมคคาเดเมีย และน้ำมันมะกอก เป็นต้นครับ นอกจากนี้ยังมีน้ำมันสังเคราะห์จำพวก triglycerides ต่างๆ เช่น Triethylhexanoin, Caprylic/capric triglyceride เป็นต้นครับ

แต่ทุกๆคนไม่ต้องเครียดจนเกินไปครับ

ถ้าคุณรู้ว่าผิวคุณเป็นแบบไหน ที่เหลือก็ปล่อยให้ AMT เป็นเพียงผู้ปรุงสูตรสกินแคร์ขึ้นมาและเราจะบอกคุณเองว่าสกินแคร์ของเรามี inner oil : surface oil ในอัตราส่วนเท่าไหร่ เช่นสูตรนี้นะมี surface oil : inner oil = 1:5 นะ อีกสูตรนึงเป็น 3:2 นะอะไรประมาณนึ้ครับ แล้วทีนี้คุณก็จะเลือกใช้ได้อย่างง่ายดายครับ

ถ้าเปรียบเทียบกับต้นไม้ สมมติเหมือนกับว่าคุณรู้ว่าต้นไม้ของคุณขาดไนโตรเจน คุณก็ไปหาปุ๋ยที่มีค่า N-P-K = 30-0-0 มาใส่ ไม่ใช่ไปเอาปุ๋ย 0-15-15 มาใส่เพราะมันไม่ตรงกับที่ต้นไม้ต้องการนั่นเองครับ

สุดท้ายนี้ผมขอสรุปสั้นๆว่า
1. เราต้องรู้จักผิวตัวเองก่อน
2. น้ำมันเป็นสิ่งที่ผิวทุกชนิดต้องการ
3. อัตราส่วน inner oil : surface oil ในสกินแคร์ สำคัญมาก เราควรจะเลือกให้เข้ากับผิวของเรา

Tag : ปัญหาผิวแห้ง ปัญหาผิวมัน

#AMTSkincare #AMTfamily #Skincare #สกินแคร์

ติดตามและเป็นกำลังใจให้กับพวกเราได้ที่

https://linktr.ee/AMTSkincare

บทความอื่นๆ

ion casino

ion casino

sbotop

slot bet 100

joker123 gaming

slot deposit pulsa tanpa potongan

slot deposit pulsa tanpa potongan

bonus new member

slot filipina

slot myanmar

slot vietnam

slot garansi kekalahan 100

judi bola

slot myanmar

depo 25 bonus 25 to kecil

slot vietnam

depo 25 bonus 25

demo slot sugar rush

akun pro myanmar

slot bet kecil

bonus new member

bonus new member

joker123

demo lucky neko

slot joker123

slot garansi kekalahan

https://robertoduarte.com.br/wp-includes/Slot777/

https://billig-is.dk/wp-content/slot777/

https://www.firshop.com/wp-includes/slot777/

https://simone.co.uk/wp-content/slot777/

joker123

Situs Slot777

situs slot server kamboja

Slot Gacor 777

sbobet

situs slot server thailand

Slot Gacor 777

https://pabloscobar.com/wp-includes/slot777/

https://www.aprendetrompeta.com/wp-admin/slot777/

https://www.carehealth.uk/wp-includes/slot777/

https://justforbaby.co/slot777/

ion slot gacor

judi bola online

slot777

slot777

slot bet 100

slot bet 100

https://creativelifestyleblog.com/