permainan spaceman slot Resmi di Indonesia

เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก

Inner Dry Skin คืออะไร ?

23/03/2022

แชร์บทความนี้

Inner Dry Skin คืออะไร? 

A : เธอใช้สกินแคร์อะไรอ่ะ
B : เราเป็นคนผิวมันอ่ะ ใช้สกินแคร์แบบ oil free หน้าจะได้ไม่มันเพิ่ม กลัวอุดตัน เป็นสิวด้วย

คนที่ผิวมันส่วนใหญ่ผิวมันแต่ภายนอก แต่ภายในแห้งสนิท เราเรียกสภาพผิวแบบนี้ว่า Inner Dry Skin

ลักษณะของผิวแบบ Inner Dry Skin สามารถสังเกตได้จากผิวจะมีความันทั่วทั้งใบหน้า แต่เมื่อล้างหน้าและเช็ดให้แห้ง ทิ้งไว้ 10-15 นาทีโดยไม่ได้ใช้สกินแคร์ผิวจะแห้งมาก บางคนอาจจะเห็นเป็นขุยๆ โดยเฉพาะบริเวณโหนกแก้มทั้งสองข้าง 

Inner Dry Skin ไม่ใช่สภาพผิวที่ปกติ สาเหตุหลักมักมาจากเกราะคุ้มครองผิว หรือ skin barrier นั้นไม่สามารถป้องกันการสูญเสียน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยธรรมชาติแล้วผิวแบบ Inner Dry Skin จะพยายามเอาตัวรอดจากการขาดน้ำ โดยการสร้างไขมันออกมาปกคลุมผิวเอาไว้ซึ่งมีข้อดีคือ ทำให้ผิวสูญเสียน้ำน้อยลง ผิวไม่แห้งมากไปกว่านี้แต่ก็มีข้อเสียหลายประการ อาทิเช่น

1. สภาพผิวภายในยังคงแห้งอยู่ ไม่ชุ่มชื้นเหมือนผิวปกติ ทำให้ผิวแลดูหมอง ไม่กระจ่างใส และความแห้งอาจทำให้เกิดริ้วรอยตื้นๆเป็นลายทางได้
2. สภาพผิวที่แห้งส่งผลให้เศษเซลล์ผิวเก่าที่หมดสภาพแล้วไม่สามารถหลุดลอกออกไปตามธรรมชาติได้ เกิดการสะสมตัวบริเวณรอบรูขุมขนทำให้รูขุมขนแลดูกว้าง
3. เศษเซลล์ที่อุดตันรูขุมขน และปริมาณไขมันที่ถูกสร้างออกมามากขึ้น อาจทำให้เป็นสิวอุดตันได้ง่าย

ผิวแบบ Inner Dry Skin กับ ผิวผสม(Combination Skin) เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?

เหมือนกันตรงที่มีความมันเหมือนกัน แต่ผิวผสมจะมีความมันเฉพาะบริเวณ T-Zone หรือบริเวณ หน้าผาก จมูกและคาง แต่ผิวแบบ Inner Dry Skin จะมีความมันทั่วทั้งใบหน้า

ผิวแบบ Inner Dry Skin กับ ผิวมัน(Oily Skin) เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?

ผิว 2 ชนิดนี้มีคนสับสนกันมาก เนื่องจากมีความมันทั่วทั้งใบหน้าเหมือนกัน จุดสังเกตที่ง่าย คือ หลังล้างหน้าผิวแบบ Inner Dry Skin จะมีความแห้งมาก (ผิวมัน หลังล้างหน้าเอาความมันที่ชั้นบนออก ผิวภายในยังชุ่มชื้นอยู่) นอกจากนี้ผิว Inner Dry Skin มักพบปัญหารูขุมขนกว้างแต่งหน้าไม่ติดทน อักเสบเห่อแดง และสิวอุดตันร่วมด้วย

ขั้นตอนการดูแลผิวแบบ Inner Dry Skin

ขั้นตอนที่ 1 ล้างหน้าทำความสะอาดผิว

ชนิดของสารชำระล้างและส่วนผสมในสูตรตำรับมีความสำคัญมากจริงอยู่ แต่สิ่งที่สำคัญมากไปกว่านั้นคือ เทคนิคการล้างหน้า เราแนะนำให้คุณล้างหน้า โดยเน้นที่บริเวณ หน้าผาก จมูก และคาง ส่วนบริเวณอื่น เช่นแก้ม รอบดวงตา เส้นแนวขากรรไกร ให้ ล้างโดยลูบบางๆ ก็เพียงพอแล้ว

ขั้นตอนที่ 2 เตรียมผิวให้พร้อมต่อการให้น้ำและไขมัน 

สภาพผิวแบบ Inner Dry Skin นั้นมีสาเหตุหลักมาจาก Skin Barrier ที่ไม่สามารถป้องกันการสูญเสียน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นก่อนที่จะให้น้ำและไขมันแก่ผิว เราจะต้องซ่อมแซม Skin Barrier ก่อน เพื่อปรับสภาพผิวให้พร้อมรับและกักเก็บน้ำและไขมันที่จะให้ในขั้นตอนต่อไปได้ 

“Lecithin เป็นสารที่มีประสิทธิภาพทั้งในเรื่องการซ่อมแซม Skin Barrier และยังมีคุณสมบัติเป็น Boosting Agent ให้น้ำและไขมันซึมผ่านเข้าสู่ผิวได้ดีขึ้นอีกด้วย”

ขั้นตอนที่ 3 ให้ไขมันก่อนให้น้ำ

ตรงนี้หลายท่านอาจจะคุ้นเคยกับการใช้ผลิตภัณฑ์ประเภท Essence หรือ Toner ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทให้น้ำก่อน แล้วจึงตามด้วย Emulsion ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทให้ไขมันซึ่งก็ไม่ได้ผิดแต่อย่างใด แต่สาเหตุที่ AMT SKINCARE แนะนำ “ให้ไขมันก่อนให้น้ำ” คือ

“ไขมันจะช่วยทำให้ช่องว่างระหว่างเซลล์ผิวนุ่มขึ้น และเมื่อช่องว่างระหว่างเซลล์ผิวนุ่มขึ้นแล้ว น้ำที่เราจะทำการให้ในขั้นตอนต่อไป จะซึมผ่านเซลล์ผิวได้ดีกว่า โดยเฉพาะผิวที่มีปัญหา Inner Dry Skin เราพบว่าการให้ไขมันก่อนให้น้ำ ช่วยให้ผิวชุ่มชื้นได้ดีกว่า”

“แต่ตรงนี้มีข้อควรระวังคือ ไขมัน ที่ให้เข้าไปก่อนนั้น จะต้องมีปริมาณที่ไม่มากไป และจะต้องมีสัดส่วนของไขมันที่เป็น Occlusive ให้น้อยที่สุด มิฉะนั้น การให้ไขมันก่อนน้ำจะไปขัดขวางการซึมผ่านของน้ำสู่ผิวได้”

ขั้นตอนที่ 4 เติมให้น้ำผิว

เมื่อเตรียมสภาพผิวจาก 3 ขั้นตอนแรกเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนนี้คือการให้น้ำแก่ผิว ฟังดูง่ายและไม่มีข้อควรระวังพิเศษ แต่เพื่อให้น้ำซึมผ่านผิวได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เรามีข้อแนะนำ คือ 

1. ส่วนประกอบในสูตรจะต้องไม่ประกอบด้วยโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่เกินไป เนื่องจากอาจขัดขวางการซึมผ่านของน้ำสู่ผิวชั้นลึกได้
2. ควรใช้ส่วนประกอบที่มีความเข้ากันได้ทั้งน้ำและไขมัน เพื่อช่วยเพิ่มการซึมผ่าน ของน้ำสู่ผิวชั้นลึกให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3. การใช้ cotton pad มีส่วนช่วยให้ผิวสัมผัสกับน้ำจำนวนมากได้ในเวลาที่สั้น ส่งผลให้ผิวได้รับน้ำมากขึ้น วิธีใช้คือ หยดผลิตภัณฑ์ลงบน cotton pad ให้ชุ่มแล้ว pad เบาๆ ทั่วผิวหน้า

ขั้นตอนที่ 5 ปิดฝาให้ผิว

ขั้นตอนสุดท้ายคือ กักเก็บน้ำและไขมันที่ให้ไป ให้อยู่กับผิวนานที่สุด ส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ในขั้นตอนนี้ จะเน้นไปที่ไขมันที่มีคุณสมบัติเป็น Occlusive แต่ไขมันจำพวกนี้มักจะเหนียวเหนอะหนะ เช่น Petrolatum Jelly หรือ Vaseline ผู้คิดค้นสูตรจะต้องเลือกชนิดและปริมาณให้เหมาะสม เพื่อที่จะให้ได้ทั้งประสิทธิภาพและสัมผัสที่น่าใช้ไม่เหนียวเหนอะหนะจนเกินไป

Tag : ปัญหาผิวแห้ง ปัญหาผิวมัน ผิวระคายเคืองง่าย สิว รูขุมขนกว้าง

#AMTSkincare #AMTFamily #YourSkinGuardian #Skincare #สกินแคร์ #ผิวสุขภาพดี

ติดตามและเป็นกำลังใจให้กับพวกเราได้ที่

https://linktr.ee/AMTSkincare

Inner Dry Skin คืออะไร? 

A : เธอใช้สกินแคร์อะไรอ่ะ
B : เราเป็นคนผิวมันอ่ะ ใช้สกินแคร์แบบ oil free หน้าจะได้ไม่มันเพิ่ม กลัวอุดตัน เป็นสิวด้วย

คนที่ผิวมันส่วนใหญ่ผิวมันแต่ภายนอก แต่ภายในแห้งสนิท เราเรียกสภาพผิวแบบนี้ว่า Inner Dry Skin

ลักษณะของผิวแบบ Inner Dry Skin สามารถสังเกตได้จากผิวจะมีความันทั่วทั้งใบหน้า แต่เมื่อล้างหน้าและเช็ดให้แห้ง ทิ้งไว้ 10-15 นาทีโดยไม่ได้ใช้สกินแคร์ผิวจะแห้งมาก บางคนอาจจะเห็นเป็นขุยๆ โดยเฉพาะบริเวณโหนกแก้มทั้งสองข้าง 

Inner Dry Skin ไม่ใช่สภาพผิวที่ปกติ สาเหตุหลักมักมาจากเกราะคุ้มครองผิว หรือ skin barrier นั้นไม่สามารถป้องกันการสูญเสียน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยธรรมชาติแล้วผิวแบบ Inner Dry Skin จะพยายามเอาตัวรอดจากการขาดน้ำ โดยการสร้างไขมันออกมาปกคลุมผิวเอาไว้ซึ่งมีข้อดีคือ ทำให้ผิวสูญเสียน้ำน้อยลง ผิวไม่แห้งมากไปกว่านี้แต่ก็มีข้อเสียหลายประการ อาทิเช่น

1. สภาพผิวภายในยังคงแห้งอยู่ ไม่ชุ่มชื้นเหมือนผิวปกติ ทำให้ผิวแลดูหมอง ไม่กระจ่างใส และความแห้งอาจทำให้เกิดริ้วรอยตื้นๆเป็นลายทางได้
2. สภาพผิวที่แห้งส่งผลให้เศษเซลล์ผิวเก่าที่หมดสภาพแล้วไม่สามารถหลุดลอกออกไปตามธรรมชาติได้ เกิดการสะสมตัวบริเวณรอบรูขุมขนทำให้รูขุมขนแลดูกว้าง
3. เศษเซลล์ที่อุดตันรูขุมขน และปริมาณไขมันที่ถูกสร้างออกมามากขึ้น อาจทำให้เป็นสิวอุดตันได้ง่าย

ผิวแบบ Inner Dry Skin กับ ผิวผสม(Combination Skin) เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?

เหมือนกันตรงที่มีความมันเหมือนกัน แต่ผิวผสมจะมีความมันเฉพาะบริเวณ T-Zone หรือบริเวณ หน้าผาก จมูกและคาง แต่ผิวแบบ Inner Dry Skin จะมีความมันทั่วทั้งใบหน้า

ผิวแบบ Inner Dry Skin กับ ผิวมัน(Oily Skin) เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?

ผิว 2 ชนิดนี้มีคนสับสนกันมาก เนื่องจากมีความมันทั่วทั้งใบหน้าเหมือนกัน จุดสังเกตที่ง่าย คือ หลังล้างหน้าผิวแบบ Inner Dry Skin จะมีความแห้งมาก (ผิวมัน หลังล้างหน้าเอาความมันที่ชั้นบนออก ผิวภายในยังชุ่มชื้นอยู่) นอกจากนี้ผิว Inner Dry Skin มักพบปัญหารูขุมขนกว้างแต่งหน้าไม่ติดทน อักเสบเห่อแดง และสิวอุดตันร่วมด้วย

ขั้นตอนการดูแลผิวแบบ Inner Dry Skin

ขั้นตอนที่ 1 ล้างหน้าทำความสะอาดผิว

ชนิดของสารชำระล้างและส่วนผสมในสูตรตำรับมีความสำคัญมากจริงอยู่ แต่สิ่งที่สำคัญมากไปกว่านั้นคือ เทคนิคการล้างหน้า เราแนะนำให้คุณล้างหน้า โดยเน้นที่บริเวณ หน้าผาก จมูก และคาง ส่วนบริเวณอื่น เช่นแก้ม รอบดวงตา เส้นแนวขากรรไกร ให้ ล้างโดยลูบบางๆ ก็เพียงพอแล้ว

ขั้นตอนที่ 2 เตรียมผิวให้พร้อมต่อการให้น้ำและไขมัน 

สภาพผิวแบบ Inner Dry Skin นั้นมีสาเหตุหลักมาจาก Skin Barrier ที่ไม่สามารถป้องกันการสูญเสียน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นก่อนที่จะให้น้ำและไขมันแก่ผิว เราจะต้องซ่อมแซม Skin Barrier ก่อน เพื่อปรับสภาพผิวให้พร้อมรับและกักเก็บน้ำและไขมันที่จะให้ในขั้นตอนต่อไปได้ 

“Lecithin เป็นสารที่มีประสิทธิภาพทั้งในเรื่องการซ่อมแซม Skin Barrier และยังมีคุณสมบัติเป็น Boosting Agent ให้น้ำและไขมันซึมผ่านเข้าสู่ผิวได้ดีขึ้นอีกด้วย”

ขั้นตอนที่ 3 ให้ไขมันก่อนให้น้ำ

ตรงนี้หลายท่านอาจจะคุ้นเคยกับการใช้ผลิตภัณฑ์ประเภท Essence หรือ Toner ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทให้น้ำก่อน แล้วจึงตามด้วย Emulsion ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทให้ไขมันซึ่งก็ไม่ได้ผิดแต่อย่างใด แต่สาเหตุที่ AMT SKINCARE แนะนำ “ให้ไขมันก่อนให้น้ำ” คือ

“ไขมันจะช่วยทำให้ช่องว่างระหว่างเซลล์ผิวนุ่มขึ้น และเมื่อช่องว่างระหว่างเซลล์ผิวนุ่มขึ้นแล้ว น้ำที่เราจะทำการให้ในขั้นตอนต่อไป จะซึมผ่านเซลล์ผิวได้ดีกว่า โดยเฉพาะผิวที่มีปัญหา Inner Dry Skin เราพบว่าการให้ไขมันก่อนให้น้ำ ช่วยให้ผิวชุ่มชื้นได้ดีกว่า”

“แต่ตรงนี้มีข้อควรระวังคือ ไขมัน ที่ให้เข้าไปก่อนนั้น จะต้องมีปริมาณที่ไม่มากไป และจะต้องมีสัดส่วนของไขมันที่เป็น Occlusive ให้น้อยที่สุด มิฉะนั้น การให้ไขมันก่อนน้ำจะไปขัดขวางการซึมผ่านของน้ำสู่ผิวได้”

ขั้นตอนที่ 4 เติมให้น้ำผิว

เมื่อเตรียมสภาพผิวจาก 3 ขั้นตอนแรกเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนนี้คือการให้น้ำแก่ผิว ฟังดูง่ายและไม่มีข้อควรระวังพิเศษ แต่เพื่อให้น้ำซึมผ่านผิวได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เรามีข้อแนะนำ คือ 

1. ส่วนประกอบในสูตรจะต้องไม่ประกอบด้วยโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่เกินไป เนื่องจากอาจขัดขวางการซึมผ่านของน้ำสู่ผิวชั้นลึกได้
2. ควรใช้ส่วนประกอบที่มีความเข้ากันได้ทั้งน้ำและไขมัน เพื่อช่วยเพิ่มการซึมผ่าน ของน้ำสู่ผิวชั้นลึกให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
3. การใช้ cotton pad มีส่วนช่วยให้ผิวสัมผัสกับน้ำจำนวนมากได้ในเวลาที่สั้น ส่งผลให้ผิวได้รับน้ำมากขึ้น วิธีใช้คือ หยดผลิตภัณฑ์ลงบน cotton pad ให้ชุ่มแล้ว pad เบาๆ ทั่วผิวหน้า

ขั้นตอนที่ 5 ปิดฝาให้ผิว

ขั้นตอนสุดท้ายคือ กักเก็บน้ำและไขมันที่ให้ไป ให้อยู่กับผิวนานที่สุด ส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ในขั้นตอนนี้ จะเน้นไปที่ไขมันที่มีคุณสมบัติเป็น Occlusive แต่ไขมันจำพวกนี้มักจะเหนียวเหนอะหนะ เช่น Petrolatum Jelly หรือ Vaseline ผู้คิดค้นสูตรจะต้องเลือกชนิดและปริมาณให้เหมาะสม เพื่อที่จะให้ได้ทั้งประสิทธิภาพและสัมผัสที่น่าใช้ไม่เหนียวเหนอะหนะจนเกินไป

Tag : ปัญหาผิวแห้ง ปัญหาผิวมัน ผิวระคายเคืองง่าย สิว รูขุมขนกว้าง

#AMTSkincare #AMTFamily #YourSkinGuardian #Skincare #สกินแคร์ #ผิวสุขภาพดี

ติดตามและเป็นกำลังใจให้กับพวกเราได้ที่

https://linktr.ee/AMTSkincare

บทความอื่นๆ

ion casino

ion casino

sbotop

slot bet 100

joker123 gaming

slot deposit pulsa tanpa potongan

slot deposit pulsa tanpa potongan

bonus new member

slot filipina

slot myanmar

slot vietnam

slot garansi kekalahan 100

judi bola

slot myanmar

depo 25 bonus 25 to kecil

slot vietnam

depo 25 bonus 25

demo slot sugar rush

akun pro myanmar

slot bet kecil

bonus new member

bonus new member

joker123

demo lucky neko

slot joker123

slot garansi kekalahan

https://robertoduarte.com.br/wp-includes/Slot777/

https://billig-is.dk/wp-content/slot777/

https://www.firshop.com/wp-includes/slot777/

https://simone.co.uk/wp-content/slot777/

joker123

Situs Slot777

situs slot server kamboja

Slot Gacor 777

sbobet

situs slot server thailand

Slot Gacor 777

https://pabloscobar.com/wp-includes/slot777/

https://www.aprendetrompeta.com/wp-admin/slot777/

https://www.carehealth.uk/wp-includes/slot777/

https://justforbaby.co/slot777/

ion slot gacor

judi bola online

slot777

slot777

slot bet 100

slot bet 100

https://creativelifestyleblog.com/