link slot Pragmatic Play resmi dan terpercaya 2024

Spaceman Slot

permainan spaceman slot Resmi di Indonesia

เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก

Handbook 11 Emulsion คืออะไร ?

24/03/2022

แชร์บทความนี้

The Skincare Handbook by AMT Skincare

คอนเทนต์ให้ความรู้เกี่ยวกับผิว และวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับสกินแคร์

ตอนที่ 11 Emulsion คืออะไร ?

Emulsion (อิมัลชัน) เป็นคำที่ผมคิดว่าหลาย ๆ ท่านอาจจะยังไม่คุ้นเคย แต่ถ้าบอกว่า มอยส์เจอร์ไรเซอร์ หรือ ครีม อาจจะคุ้นหูมากกว่าครับ

อิมัลชัน คือ “น้ำ” กับ “น้ำมัน” ที่ผสมกันเป็นเนื้อเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น นมวัว(มีน้ำและไขมันวัว) , มายองเนส (มีน้ำส้มสายชูกับน้ำมันพืช) รวมถึงสกินแคร์ที่มีเนื้อสีขาวทึบทุกชนิดครับ

Emulsion แบ่งได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ตามโครงสร้างครับ

1. Oil in Water Emulsion (O/W Emulsion) เป็นอิมัลชัน ชนิดที่เมื่อส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะเห็น “น้ำมัน”เป็นหยดเล็ก ๆ กระจายอยู่ในน้ำ

2. ในทางตรงกันข้าม Water in Oil Emulsion (W/O Emulsion) เป็นอิมัลชัน ชนิดที่เมื่อส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะเห็น “น้ำ” เป็นหยดเล็ก ๆ กระจายอยู่ในน้ำมัน

แล้วเราจะรู้ไปทำไม ?


คำตอบก็คือ เอาจริง ๆ ไม่ต้องรู้ก็ได้ครับ อาจจะมีประโยชน์นิด ๆ ตอนคุยกับเพื่อนเวลาไปลองครีมด้วยกันว่า “นี่เธอ ครีมนี้อ่ะ O/W Emulsion นี่นา ” ให้เพื่อนหมั่นไส้เล่นได้ครับ

 

Emulsion แต่ละชนิดมีจุดเด่นต่างกันดังนี้ครับ

1. Oil in Water Emulsion เป็นอิมัลชันที่พบมากในสกินแคร์ส่วนใหญ่ครับ เนื้อสัมผัสมีตั้งแต่เหลวเป็นน้ำถึงข้นมากเป็นครีม วิธีสังเกตง่าย ๆ คือเวลาเกลี่ยลงบนผิว จะมีความรู้สึกเย็น ๆ เนื่องจากน้ำที่เป็นองค์ประกอบในอิมัลชันสัมผัสกับผิวโดยตรง และเมื่อน้ำระเหยก็จะดูดความร้อนจากผิวไป ทำให้รู้สึกเย็น (เย็นแค่ไหนนั้น ขึ้นอยู่กับสภาพสิ่งแวดล้อมด้วยครับ ถ้าอยู่ในห้องแอร์ เวลาน้ำระเหยก็จะรู้สึกเย็นมาก เป็นต้นครับ) หรืออีกวิธีนึงที่ทดสอบได้ง่าย ๆ ก็คือ ลองหยดอิมัลชันลงในแก้วน้ำที่มีน้ำอยู่ ถ้าอิมัลชันนั้นละลายไปกับน้ำก็แสดงว่าเป็นแบบ Oil in Water Emulsion นั่นเองครับ อิมัลชันชนิดนี้ให้ความรู้สึกที่ดีในการทา แต่ส่วนมากไม่สามารถกันน้ำกันเหงื่อได้ครับ เหมาะกับการใช้เป็นสกินแคร์เพื่อบำรุงผิวครับ

2. Water in Oil Emulsion เป็นอิมัลชันที่พบมากในรองพื้น (กรณีนี้อาจจะไม่ใช่สีขาวทึบเพราะมีการใส่สีลงไปครับ) ครีมกันแดดแบบกันน้ำ และสกินแคร์บางชนิดครับ (ที่หลาย ๆ ท่านน่าจะรู้จักก็คือ ครีมนีเวียกระปุกสีน้ำเงิน) เวลาเกลี่ยลงบนผิว จะไม่รู้สึกเย็น ๆ เพราะส่วนที่สัมผัสกับผิวโดยตรงคือน้ำมัน ไม่ใช่น้ำนั่นเองครับ และถ้าหากลองหยดอิมัลชันลงในแก้วน้ำที่มีน้ำอยู่ อิมัลชันนั้นจะไม่ละลายไปกับน้ำครับ อาจจะลอยหรือจมก็ได้ครับ อิมัลชันชนิดนี้ทนน้ำทนเหงื่อได้ดี แต่ความรู้สึกในการทามักจะเหนียวเหนอะหนะ เหมาะกับเป็นกันแดด หรือรองพื้น ที่ต้องเจอเหงื่อเยอะ ๆ หรือกรณีถ้าใช้เป็นสกินแคร์สามารถใช้เพื่อปกคลุมผิวที่แห้งแตกอย่างมากได้ครับ

หากพูดถึงเฉพาะ Oil in Water Emulsion เราจะสามารถแบ่งย่อยได้อีกเป็น 3 ชนิดคร่าว ๆ ตามปริมาณน้ำมันที่กระจายอยู่ดังนี้ครับ

 

1. น้ำมันน้อย – อิมัลชันจะเหลวเป็นน้ำ ๆ มีสีขาวโปร่งแสงหรือทึบแสงก็ได้ ยิ่งน้ำมันมากยิ่งทึบครับ (แต่ไม่เสมอไป) เราจะคุ้นหูกันในชื่อ “น้ำตบชนิดน้ำนม” นั่นเองครับ

2.น้ำมันปานกลาง – อิมัลชันชนิดนี้มักมีความหนืดน้อยถึงปานกลางไม่เหลวเป็นน้ำ เราจะคุ้นหูกันในชื่อ “มอยสเจอร์ไรเซอร์” ครับ ซึ่งที่จริงคำว่า มอยสเจอร์ไรเซอร์ เป็นชื่อที่บอกหน้าที่มากกว่าครับ ส่วนคำว่า อิมัลชัน เป็นชื่อที่บอกสภาพของสกินแคร์นั้นว่าเป็น น้ำผสมน้ำมัน

 3. น้ำมันมาก – อิมัลชันมักจะมีความหนืดสูง ทำให้เราจะคุ้นหูกันในชื่อ “ครีม” ครับ ที่จริงชื่อเต็ม ๆ ของครีมคือ “อิมัลชันเนื้อครีม” นั่นเองครับ แต่เพื่อความสะดวกจึงมักเรียกกันว่า “ครีม” อย่างเดียวครับ (อย่าเพิ่งงงนะครับ)

อิมัลชัน เป็น สกินแคร์ไอเท็มที่ทุกคน “ควรใช้” ครับ เพราะมีน้ำมันเป็นส่วนประกอบ ผิวของคนเราทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น ผิวแห้ง ผิวมัน ผิวผสม ผิวบอบบาง ผิวเด็ก ผิวผู้สูงอายุ ผิวผู้ชาย ผิวผู้หญิง หรือจะผิวอะไรก็แล้วแต่ ล้วนต้องการน้ำมันทั้งนั้นครับ


นอกจากนี้ปริมาณ
Oil ในอิมัลชันยังไม่สำคัญเท่าอัตราส่วน Inner Oil : Surface Oil ที่อยู่ในอิมัลชันนั้น ครับ


ผิวแห้ง : ควรเลือกใช้อิมัลชันสูตรที่มี
Surface Oil สูง เพื่อสร้าง Layer ของน้ำมันไว้ที่ผิว ป้องกันการสูญเสียน้ำ

ในทางกลับกัน

ผิวมัน : ควรเลือกใช้อิมัลชันสูตรที่มี Surface Oil ต่ำ เพราะผิวสร้าง Surface Oil ออกมามากอยู่แล้ว เดี๋ยวจะยิ่งมันกันไปใหญ่

หลายท่านอ่านมาถึงตรงนี้อาจจะสงสัยว่า

แล้วผิวผสมอย่างชั้นล่ะจะทำยังไงดี ? ซื้อ 2 สูตรมาใช้ร่วมกันเหรอ ?

ในทางทฤษฎีอาจจะใช่ครับ แต่ในทางปฏิบัติไม่เวิร์กเลยครับ เปลืองสตางค์ด้วย อีกทั้งยังวุ่นวาย ทาขวดนี้ทีขวดนั้นที เดี๋ยวทาผิดทาถูกอีก


วิธีการที่ดีกว่านั้นผมแนะนำให้ “เลือกอิมัลชันสูตรที่มี
Surface oil ต่ำ” เหมือนกับคนผิวมัน

โดยบริเวณ T Zone ที่มีความมันที่ผิวมาก ให้ทาปกติ
ส่วนบริเวณ U Zone ที่มีความแห้ง ให้ทาปริมาณมากหน่อย หรือทา 2 ชั้นทับกันครับ

 

AMT Rejuvenating & Brightening Light Emulsion
และ AMT Rejuvenating & Brightening Rich Emulsion

 

อิมัลชันที่จะช่วยให้ผิวของคุณได้รับน้ำมันที่เหมาะสมกับผิวคุณจริง

 

สิ่งหนึ่งที่เป็นความเข้าใจผิดที่พบมากคือ
“ชั้นผิวมันอ่ะ ไม่อยากทาอะไรที่มีน้ำมัน”

 

อิมัลชันทั้ง 2 สูตรนี้จะบอกคุณว่าในสูตรมีอัตราส่วน Inner Oil : Surface Oil ในปริมาณเท่าไหร่ เพื่อให้คุณเลือกใช้ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

#อย่ากลัวน้ำมันมากเกินไป

Tag : ปัญหาผิวแห้ง ปัญหาผิวมัน

#AMTSkincare #AMTfamily #YourSkinGuardian #Handbook #Skincare #สกินแคร์

ติดตามและเป็นกำลังใจให้กับพวกเราได้ที่

https://linktr.ee/AMTSkincare

The Skincare Handbook by AMT Skincare

คอนเทนต์ให้ความรู้เกี่ยวกับผิว และวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับสกินแคร์

ตอนที่ 11 Emulsion คืออะไร ?

Emulsion (อิมัลชัน) เป็นคำที่ผมคิดว่าหลาย ๆ ท่านอาจจะยังไม่คุ้นเคย แต่ถ้าบอกว่า มอยส์เจอร์ไรเซอร์ หรือ ครีม อาจจะคุ้นหูมากกว่าครับ

อิมัลชัน คือ “น้ำ” กับ “น้ำมัน” ที่ผสมกันเป็นเนื้อเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น นมวัว(มีน้ำและไขมันวัว) , มายองเนส (มีน้ำส้มสายชูกับน้ำมันพืช) รวมถึงสกินแคร์ที่มีเนื้อสีขาวทึบทุกชนิดครับ

Emulsion แบ่งได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ตามโครงสร้างครับ

1. Oil in Water Emulsion (O/W Emulsion) เป็นอิมัลชัน ชนิดที่เมื่อส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะเห็น “น้ำมัน”เป็นหยดเล็ก ๆ กระจายอยู่ในน้ำ

2. ในทางตรงกันข้าม Water in Oil Emulsion (W/O Emulsion) เป็นอิมัลชัน ชนิดที่เมื่อส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะเห็น “น้ำ” เป็นหยดเล็ก ๆ กระจายอยู่ในน้ำมัน

แล้วเราจะรู้ไปทำไม ?


คำตอบก็คือ เอาจริง ๆ ไม่ต้องรู้ก็ได้ครับ อาจจะมีประโยชน์นิด ๆ ตอนคุยกับเพื่อนเวลาไปลองครีมด้วยกันว่า “นี่เธอ ครีมนี้อ่ะ O/W Emulsion นี่นา ” ให้เพื่อนหมั่นไส้เล่นได้ครับ

 

Emulsion แต่ละชนิดมีจุดเด่นต่างกันดังนี้ครับ

1. Oil in Water Emulsion เป็นอิมัลชันที่พบมากในสกินแคร์ส่วนใหญ่ครับ เนื้อสัมผัสมีตั้งแต่เหลวเป็นน้ำถึงข้นมากเป็นครีม วิธีสังเกตง่าย ๆ คือเวลาเกลี่ยลงบนผิว จะมีความรู้สึกเย็น ๆ เนื่องจากน้ำที่เป็นองค์ประกอบในอิมัลชันสัมผัสกับผิวโดยตรง และเมื่อน้ำระเหยก็จะดูดความร้อนจากผิวไป ทำให้รู้สึกเย็น (เย็นแค่ไหนนั้น ขึ้นอยู่กับสภาพสิ่งแวดล้อมด้วยครับ ถ้าอยู่ในห้องแอร์ เวลาน้ำระเหยก็จะรู้สึกเย็นมาก เป็นต้นครับ) หรืออีกวิธีนึงที่ทดสอบได้ง่าย ๆ ก็คือ ลองหยดอิมัลชันลงในแก้วน้ำที่มีน้ำอยู่ ถ้าอิมัลชันนั้นละลายไปกับน้ำก็แสดงว่าเป็นแบบ Oil in Water Emulsion นั่นเองครับ อิมัลชันชนิดนี้ให้ความรู้สึกที่ดีในการทา แต่ส่วนมากไม่สามารถกันน้ำกันเหงื่อได้ครับ เหมาะกับการใช้เป็นสกินแคร์เพื่อบำรุงผิวครับ

2. Water in Oil Emulsion เป็นอิมัลชันที่พบมากในรองพื้น (กรณีนี้อาจจะไม่ใช่สีขาวทึบเพราะมีการใส่สีลงไปครับ) ครีมกันแดดแบบกันน้ำ และสกินแคร์บางชนิดครับ (ที่หลาย ๆ ท่านน่าจะรู้จักก็คือ ครีมนีเวียกระปุกสีน้ำเงิน) เวลาเกลี่ยลงบนผิว จะไม่รู้สึกเย็น ๆ เพราะส่วนที่สัมผัสกับผิวโดยตรงคือน้ำมัน ไม่ใช่น้ำนั่นเองครับ และถ้าหากลองหยดอิมัลชันลงในแก้วน้ำที่มีน้ำอยู่ อิมัลชันนั้นจะไม่ละลายไปกับน้ำครับ อาจจะลอยหรือจมก็ได้ครับ อิมัลชันชนิดนี้ทนน้ำทนเหงื่อได้ดี แต่ความรู้สึกในการทามักจะเหนียวเหนอะหนะ เหมาะกับเป็นกันแดด หรือรองพื้น ที่ต้องเจอเหงื่อเยอะ ๆ หรือกรณีถ้าใช้เป็นสกินแคร์สามารถใช้เพื่อปกคลุมผิวที่แห้งแตกอย่างมากได้ครับ

หากพูดถึงเฉพาะ Oil in Water Emulsion เราจะสามารถแบ่งย่อยได้อีกเป็น 3 ชนิดคร่าว ๆ ตามปริมาณน้ำมันที่กระจายอยู่ดังนี้ครับ

 

1. น้ำมันน้อย – อิมัลชันจะเหลวเป็นน้ำ ๆ มีสีขาวโปร่งแสงหรือทึบแสงก็ได้ ยิ่งน้ำมันมากยิ่งทึบครับ (แต่ไม่เสมอไป) เราจะคุ้นหูกันในชื่อ “น้ำตบชนิดน้ำนม” นั่นเองครับ

2.น้ำมันปานกลาง – อิมัลชันชนิดนี้มักมีความหนืดน้อยถึงปานกลางไม่เหลวเป็นน้ำ เราจะคุ้นหูกันในชื่อ “มอยสเจอร์ไรเซอร์” ครับ ซึ่งที่จริงคำว่า มอยสเจอร์ไรเซอร์ เป็นชื่อที่บอกหน้าที่มากกว่าครับ ส่วนคำว่า อิมัลชัน เป็นชื่อที่บอกสภาพของสกินแคร์นั้นว่าเป็น น้ำผสมน้ำมัน

 3. น้ำมันมาก – อิมัลชันมักจะมีความหนืดสูง ทำให้เราจะคุ้นหูกันในชื่อ “ครีม” ครับ ที่จริงชื่อเต็ม ๆ ของครีมคือ “อิมัลชันเนื้อครีม” นั่นเองครับ แต่เพื่อความสะดวกจึงมักเรียกกันว่า “ครีม” อย่างเดียวครับ (อย่าเพิ่งงงนะครับ)

อิมัลชัน เป็น สกินแคร์ไอเท็มที่ทุกคน “ควรใช้” ครับ เพราะมีน้ำมันเป็นส่วนประกอบ ผิวของคนเราทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น ผิวแห้ง ผิวมัน ผิวผสม ผิวบอบบาง ผิวเด็ก ผิวผู้สูงอายุ ผิวผู้ชาย ผิวผู้หญิง หรือจะผิวอะไรก็แล้วแต่ ล้วนต้องการน้ำมันทั้งนั้นครับ


นอกจากนี้ปริมาณ
Oil ในอิมัลชันยังไม่สำคัญเท่าอัตราส่วน Inner Oil : Surface Oil ที่อยู่ในอิมัลชันนั้น ครับ


ผิวแห้ง : ควรเลือกใช้อิมัลชันสูตรที่มี
Surface Oil สูง เพื่อสร้าง Layer ของน้ำมันไว้ที่ผิว ป้องกันการสูญเสียน้ำ

ในทางกลับกัน

ผิวมัน : ควรเลือกใช้อิมัลชันสูตรที่มี Surface Oil ต่ำ เพราะผิวสร้าง Surface Oil ออกมามากอยู่แล้ว เดี๋ยวจะยิ่งมันกันไปให

หลายท่านอ่านมาถึงตรงนี้อาจจะสงสัยว่า

แล้วผิวผสมอย่างชั้นล่ะจะทำยังไงดี ? ซื้อ 2 สูตรมาใช้ร่วมกันเหรอ ?

ในทางทฤษฎีอาจจะใช่ครับ แต่ในทางปฏิบัติไม่เวิร์กเลยครับ เปลืองสตางค์ด้วย อีกทั้งยังวุ่นวาย ทาขวดนี้ทีขวดนั้นที เดี๋ยวทาผิดทาถูกอีก


วิธีการที่ดีกว่านั้นผมแนะนำให้ “เลือกอิมัลชันสูตรที่มี
Surface oil ต่ำ” เหมือนกับคนผิวมัน

โดยบริเวณ T Zone ที่มีความมันที่ผิวมาก ให้ทาปกติ
ส่วนบริเวณ U Zone ที่มีความแห้ง ให้ทาปริมาณมากหน่อย หรือทา 2 ชั้นทับกันครับ

 

AMT Rejuvenating & Brightening Light Emulsion
และ AMT Rejuvenating & Brightening Rich Emulsion

 

อิมัลชันที่จะช่วยให้ผิวของคุณได้รับน้ำมันที่เหมาะสมกับผิวคุณจริง

 

สิ่งหนึ่งที่เป็นความเข้าใจผิดที่พบมากคือ
“ชั้นผิวมันอ่ะ ไม่อยากทาอะไรที่มีน้ำมัน”

 

อิมัลชันทั้ง 2 สูตรนี้จะบอกคุณว่าในสูตรมีอัตราส่วน Inner Oil : Surface Oil ในปริมาณเท่าไหร่ เพื่อให้คุณเลือกใช้ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

#อย่ากลัวน้ำมันมากเกินไป

Tag : ปัญหาผิวแห้ง ปัญหาผิวมัน

#AMTSkincare #AMTfamily #YourSkinGuardian #Handbook #Skincare #สกินแคร์

ติดตามและเป็นกำลังใจให้กับพวกเราได้ที่

https://linktr.ee/AMTSkincare

บทความอื่นๆ

บทความอื่นๆ

ion casino

ion casino

sbotop

slot bet 100

joker123 gaming

slot deposit pulsa tanpa potongan

slot deposit pulsa tanpa potongan

bonus new member

slot filipina

slot myanmar

slot vietnam

slot garansi kekalahan 100

judi bola

slot myanmar

depo 25 bonus 25 to kecil

slot vietnam

depo 25 bonus 25

demo slot sugar rush

akun pro myanmar

slot bet kecil

bonus new member

bonus new member

joker123

demo lucky neko

slot joker123

slot garansi kekalahan

https://robertoduarte.com.br/wp-includes/Slot777/

https://billig-is.dk/wp-content/slot777/

https://www.firshop.com/wp-includes/slot777/

https://simone.co.uk/wp-content/slot777/

joker123

Situs Slot777

situs slot server kamboja

Slot Gacor 777

sbobet

situs slot server thailand

Slot Gacor 777

https://pabloscobar.com/wp-includes/slot777/

https://www.aprendetrompeta.com/wp-admin/slot777/

https://www.carehealth.uk/wp-includes/slot777/

https://justforbaby.co/slot777/

ion slot gacor

judi bola online

slot777

slot777

slot bet 100

slot bet 100

https://creativelifestyleblog.com/